ร่วมงานกับลลิล
บ้าน
บ้านลลิล The Prestige
Lanceo CRIB
ลลิล กรีนวิลล์
บ้านลลิล
Lanceo
Lanceo PRIDE
Lanceo PRIME
Lanceo NOV
Lio NOV
Lalin Greenville LUXE
ทาวน์โฮม
Lio
Lio BLISS
Lio ELITE
Lio NOV
Lio Prime
Lio Prestige
ทำเลโครงการ
บ้านและทาวน์โฮมทำเลบางนา – เทพารักษ์ – สุวรรณภูมิ
บ้านและทาวน์โฮมทำเลปทุมธานี – รังสิต – ลำลูกกา
บ้านและทาวน์โฮมทำเลนนทบุรี – บางใหญ่ – ราชพฤกษ์ – รัตนาธิเบศร์
บ้านและทาวน์โฮมทำเลเพชรเกษม – บางแค – พุทธมณฑล
บ้านและทาวน์โฮมทำเลรามอินทรา – วัชรพล – สายไหม
บ้านและทาวน์โฮมทำเลประชาอุทิศ – สุขสวัสดิ์
บ้านและทาวน์โฮมทำเลพระราม2 – เอกชัย – บางบอน
บ้านและทาวน์โฮมทำเลต่างจังหวัด – ชลบุรี – พัทยา – ศรีราชา – บ่อวิน
บ้านและทาวน์โฮมทำเลต่างจังหวัด – ระยอง – ปลวกแดง
บ้านและทาวน์โฮมทำเลต่างจังหวัด – สมุทรสาคร
บ้านและทาวน์โฮมทำเลต่างจังหวัด – ฉะเชิงเทรา
บ้านและทาวน์โฮมทำเลต่างจังหวัด – นครราชสีมา
บ้านและทาวน์โฮมทำเลต่างจังหวัด – ราชบุรี
คำนวณเงินกู้
เมนูลลิล
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ข่าวสารลลิล
Lalin Blog
Lalin Insight
ความสุขรอบบ้าน
เสียงจากลูกบ้าน
สิ่งดีๆเพื่อลูกบ้าน
ความสำเร็จของเรา
โปรแกรมคำนวณเงินกู้
ขายที่ดินกับลลิล
นโยบายความเป็นส่วนตัว
ติดต่อเรา
ผู้ลงทุนสัมพันธ์
คณะกรรมการบริษัท
คณะผู้บริหาร
นักลงทุนสัมพันธ์
ร่วมงานกับลลิล
ข้อดีและข้อควรระวังของการกู้ร่วม ก่อนตัดสินใจกู้ร่วมซื้อบ้าน
ข้อดีของการกู้ร่วม
ขออนุมัติสินเชื่อกู้ซื้อบ้านได้ง่ายมากขึ้น หากเรามีสุขภาพการเงินที่ดี การกู้ร่วมก็จะช่วยทำให้มีความน่าเชื่อถือ และอนุมัติผ่านได้ง่ายมากขึ้นด้วย
ได้วงเงินที่สูงขึ้น เราจะได้วงเงินที่สูงขึ้น หรือคิดง่าย ๆ หากเราอยากได้บ้านที่ราคาหลังละ 5,000,000 บาท แต่ถ้าหากฐานเงินเดือนของเรายังไม่สูงพอตามที่ธนาคารกำหนด ซึ่งการที่ธนาคารจะอนุมัติวงเงินให้ง่ายขึ้นนั้นก็ต้องอาศัยการกู้ร่วมซื้อบ้าน
ไม่ต้องแบกภาระหนี้คนเดียว เพราะการกู้ร่วมเท่ากับว่าเรามีคนช่วยผ่อนชำระหนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วการกู้ปกติจะสามารถทำให้เราผ่อนได้นานสุดเพียง 30 ปี เท่านั้น แต่หากเราตัดสินใจกู้ร่วมซื้อบ้านแล้ว ระยะเวลาในการผ่อนกับจำนวนเงินผ่อนชำระ ก็จะยืดหยุ่นในการใช้จ่ายของเราไปด้วย
ข้อควรระวังของการกู้ร่วม
อาจเกิดการผิดใจกันระหว่างสัญญาได้ เช่น เกิดการเลิกรากันระหว่างคู่รัก ซึ่งหากไม่อยากรับผิดชอบร่วมกันต่อ จะทำให้ภาระทั้งหมดตกเป็นของอีกฝ่ายได้ และเมื่อเกิดกรณีแบบนี้เราอาจจำเป็นต้องถอนการกู้ร่วม ยิ่งหากตกลงกันไม่ได้ก็จำเป็นต้องขายบ้านทิ้งในที่สุด
สิทธิการลดหย่อนภาษีจะถูกหารเฉลี่ย ซึ่งปกติเราจะสามารถลดหย่อนได้สูงสุด 100,000 บาท แต่ถ้าเรากู้ร่วมเกิน 2 คน ค่าลดหย่อนก็จะถูกหารไปด้วย ตัวอย่างเช่น ค่าลดหย่อน 100,000 บาท เราจะต้องนำมาหารครึ่ง จึงเหลือเพียงคนละ 50,000 บาท เท่านั้น
มีผลต่อการขายหรือโอนได้ ด้วยเป็นการกู้ร่วมซื้อบ้านกัน หากมีใครสักคนต้องการขายหรือโอน จะต้องได้รับความยินยอมจากอีกคนด้วย ยิ่งในเงื่อนไขนี้ หากผู้กู้ร่วมเกิดผิดใจ ก็จะไม่สามารถทำได้ หากผู้ร่วมกู้อีกฝ่ายไม่ให้ความยินยอม